วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554
ในวันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอน
อาจารย์ให้ส่งแผนการจัดการเรียนการสอนและอาจารย์สรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนในวิชานี้

ความรู้ที่ได้รับจาก วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
-การสอนแบบโครงการ
-ความหมายวิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
-การทำโครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์
**การสังเกต เครื่องมือ : แบบประเมิน/แบบบันทึกการสังเกต
**สนทนา/ซักถาม เครื่องมือ : แบบสอบถาม/แบบบันทึก
**ผลงาน/ชิ้นงานของเด็ก

ขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้ ความเมตตา แก่ลูกศิษย์ ดิฉันจะความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุดในการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กๆ

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ.2554
ในวันนี้อาจารย์ให้นำแผนมาส่งและแนะนำวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนอีก 1 ครั้ง
วัตถุประสงค์ มีลักษณะดังนี้
-บอกชื่อ
-บอกลักษณะ
-บอกส่วนประกอบ
เช่น..............
-บอกชื่อของกล้วยได้
-บอกลักษณะของกล้วยได้
-บอกส่วนประกอบของกล้วยได้

ประสบการณ์สำคัญ
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการวัด
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสเปส
-ทักษะการคำนวน
เช่น................
-เด็กได้ใช้ทักษะการสังเกตจากประสาทสัมผัสทั้ง 5
-เด็กได้ใช้ทักษะการจำแนกประเภทของกล้วยชนิดเดียวกัน
-เด็กได้ใช้ทักษะการสื่อความหมายของกล้วย

สาระสำคัญ
-ชื่อเรื่องที่เราจะสอน
เช่น............
ลักษณะของกล้วย ( ลำต้นเขียว มีใบใหญ่ สีเขียว ) เป็นต้น

การจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
-คำคล้องจอง
-นิทาน
-ปริศนาคำทาย
ขั้นทำกิกรรม
-กิจกรรมที่ครูเตรียมไว้
ขั้นสรุป
-คำคล้องจอง
-สนทนา/ซักถาม

อาจารย์ได้ให้แบบฟอร์มการเขียนแผนและไปปรับแก้แผนมาส่งในสัปดาห์ต่อไป



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ.2554
ในวันนี้อาจารย์สอนการเขียนแผนวิทยาศาสตร์
สาระการเรียนรู้มาจาก เนื่อหา ดังนี้
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
-บุคคลและสถานที่
-ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ
-ร่างกาย
-อารมณ์-จิตใจ
-สังคม
-สติปัญญา
-ภาษา
-วิทยาศาสตร์
-คณิตศาสตร์

ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ทีกษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการวัด
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
-ทักษะการคำนวน

อาจารย์ได้เขียนแผนเรื่องของเห็นให้ดูเป็นตัวอย่าง
ให้งานเป็นเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์มาส่งกลุ่มละ 1 สัปดาห์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ.2554
ในวันนี้อาจารย์ให้นำงานประดิษฐ์ที่ทำจากแกนทิชูมาส่งและดู VDO เรื่องมหัศจรรย์ของนำ้และจดข้อความรู้ที่ได้ ดังนี้
การทดลองที่ 1
เริ่มแรกต้มน้ำแข็งให้เป็นของเหลว และ
เมื่อเกิดไอ เอาน้ำแข็งในจานมาวางด้าน
บน ผลที่เกิดขึ้น คือ กลายเป็นหยดน้ำ

การทดลองที่ 2

เริ่มแรกหาภาชนะมา 2แบบ (แบบที่ 1 แก้ว แบบที่ 2 จาน) แล้วนำน้ำขึ้นมาเทลงในภาชนะทั้ง 2 แล้วนำไปตากแดด 1 วัน ผลที่เกิดขึ้น คือ น้ำในจานลดลง ( เพราะ ภาชนะที่มีผิวหน้ากว้าง จะแห้งเร็วกว่าภาชนะที่มีผิวหน้าแคบ)
การทดลองที่ 3
นำน้ำมาเทใส่แก้วจนเต็ม แล้วนำกระดาษมาปิดปากแก้ว แล้วนำไปแช่ตู้เย็น ผลที่เกิดขึ้น คือ น้ำกลายเป็นนำ้แข็งจนล้นแก้ว ( เพราะ น้ำจะมีโมเลกุลที่อัดตัวกันแน่น เมื่อแช่เย็นโมเลกุลจะขยายตัวจนน้ำแข็งล้นอก้ว)

การทดลองที่ 4
นำแครทมาเทใส่ลงในแก้วที่เราใส่น้ำเกลือเอาไว้ สังเกตผล ผลที่เกิดขึ้น คือ แครทลอยเหนือน้ำ ( เพราะ ในแก้วที่มีนำ้เกลือมีโมเลกุลลดน้อยลง)

การทดลองที่ 5

เริ่มแรกนำผ้าพนแผลไปวางบนน้ำแข็งและนำเกลือมาโรยบนผ้าพันแผลและทิ้งไว้สักครู่ แล้วดึงผ้าพันแผลออก ผลที่เกิดขึ้น น้ำแข็งติดผ้าพันแผลขึ้นมา ( เพราะเกลือมีคุณ

สมบัติพิเศษ สามารถดูดความร้อนในบริเวณนั้นได้ เมื่อเทเกลือลงไปทำให้น้ำแข็งเย็นจัด เลยเกิดการยึดติดกับสิ่งของ)
การทดลองที่ 6

เริ่มแรกหาขวดมา 1ใบ แล้วเจาะรูให้ตรงกัน 3 รู เมื่อทำเสร็จก็ปิดรู้ทั้ง 3 รู แล้วเทน้ำจนเต็ม หลังจากนั้นก็เปิดทีละรู ผลที่เกิดขึ้น คือ น้ำทั้ง 3 รูพุ่งไม่เท่ากัน รูที่ 3 พุ่งไกลที่สุด ( เพราะ เกิดจากแรงดันน้ำ)

อาจารย์สรุปวิธีการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
1.จะต้องทดลองด้วยกระบ
วนการทางวิทยาศาสตร์
2.เด็กลงมือผฎิบัติ เด็กเล่นเอง (ทำให้เกิดประสบการณ์ตรง เกิดเป็นการทำงาน
ของสมอง )

ผลงานจากแกนทิชชู





วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2554
ในวันนี้ก่อนเข้าบทเรียนอาจารย์ อาจารย์ได้พูดถึงการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากกระดาษทิชชูว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างไร

แกนทิชชู
วิทยาศาสตร์ ดังนี้
-เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว
-ผลิตจากธรรมชาติ
-เปลี่ยนแปลงได้
-มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
**เป็นขยะ
**ใช้เยอะต้องตัดต้นไม้เยอะ
**สภาพแวดล้อม

อาจารย์ทบทวนการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการอีกครั้ง
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ
1.เริ่มโครงการ
-หาหัวข้อเรื่อง
**ให้เด็กเสนอ
-อยากรู้อะไร
**ถาม/ตอบ
-ทำอย่างไร
**สถานที่
**คน
**กิจกรรม
-ทบทวนประสบการณ์เดิม
**สนทนา

2.ดำเนินตามแผนการที่วางไว้และลงมือปฎิบัติ

3.สรุป/นำเสนอ
-หน้าที่
**อธิบาย
**ต้อนรับ
**จัดสถานที่
-คน
**เด็กผู้ดำเนินกิจกรรม
**ครูกำหนด
**ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
-สถานที่
**ในห้องเรียน
**นอกห้องเรียน




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2554
ในวันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแบบโครงการ
การจัดกิจกรรม
ลงมือกระทำ
- ปฎิบัติจริงด้วยมือ
-ปฎิบัติจริงด้วยตา
-ปฎิบัติจิริงด้วยหู
-ปฎิบัติจริงด้วยลิ้น
-ปฎิบัติจริงจมูก

สร้างความคิดสร้งสรรค์
- ความคิดริเริ่ม
-ความคิดยืดหยุ่น
-ความคิดคล่องแคล่ว
-ความคิดละเอียดละออ

ลักษณะของกิจกรรม/หลักการจัดกิจกรรม
- วิธีการ
**สอดคล้องกับพัฒนาการ
**มีความหลากหลาย
-เนื้อหา
**สอดคล้องกับหน่วย
**เป็นเรื่องใกล้ตัว
-ลำดับขั้นตอน
**ขั้นนำ
**ขั้นสอน
**ขั้นสรุป

ตัวอย่าง การจัดการเรียนแบบโครงการ
เรื่องดอกไม้

ขั้นริเริ่ม
ครูถามถึงสิ่งที่เด็กๆอยากรู้เกี่ยวกับดอกไม้ โดยทำเป็นแผนผัง
-ส่วนประกอบของดอกไม้
-ดอกไม้มีกี่ชนิด
-มีสีอะไรบ้าง
-มีประโยชน์อย่างไร
-ขยายพันธุ์ด้วยวิธีใด
-มีวิธีการดูแลอย่างไร
-มีวิธีปลูกอย่างไร
-ดอกไม้มีพิษอย่างไร

ขั้นลงมือปฎิบัติ
การจัดกิจกรรม
-กิจกรรมเคลื่อนไหว
**แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์
**เชิญวิทยากรมาให้ความรู้
**พาไปดูสถานที่จริง
-กิจกรรมศิลปะ
**วาดรูปส่วนประกอบของดอกไม้
**พิมพ์ภาพ
-ประดิษฐ์ดอกไม้
-แต่งนิทานเรื่องดอกไม้
-ประกอบอาหาร
-กิจกรรมเล่นเสรี
**มุมประสบการณ์ที่เราจัด

ขั้นสรุป
การนำเสนอ
-นิทรรศการ
-เพลงที่แต่ง
-นิทานที่แต่ง

และอาจารย์ก็สรุปการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการอีกครั้ง